Skip to main content

labourqa

Forum Replies Created

กำลังดู 15 ข้อความ - 1 ผ่านทาง 15 (ของทั้งหมด 391)
  • Author
    Posts
  • labourqa
    Moderator
    376257

    สวัสดีคุณ อมรรัตน์ กรณีนายจ้างให้ลูกจ้างมาทำงานในวันหยุดตามประเพณี แบ่งเป็น 2 กรณี 1) กรณีลูกจ้างรายวัน หรือลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด จะได้รับค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 2 เท่า 2) กรณีลูกจ้างรายเดือน หรือลูกจ้างที่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด จะได้รับค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 1 เท่า หากท่านไม่ได้รับสิทธิตามที่กฎหมายกำหนด ท่านสามารถยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในพื้นที่/จังหวัดที่ท่านทำงาน หรือยื่นคำร้องออนไลน์ผ่านทางลิ้งค์ : https://eservice.labour.go.th/ หรือกรณีที่ท่านยังทำงานอยู่และเกรงว่าจะกระทบกับหน้าที่งานสามารถติดต่อปรึกษาหรือแจ้งข้อร้องเรียนได้ที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้ที่ช่องทาง 1) สายด่วน 1546 2) สายด่วน 1506 กด 3 หรือ 3) สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/กรุงเทพ ตรวจสอบหมายเลขโทรศัพท์จากเว็ปไซต์กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน http://www.labour.go.th (เมนู ติดต่อกรม) เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ท่านทำงานหรืออาศัยอยู่ให้คำปรึกษาช่วยเหลือ ในวันและเวลาราชการครับ

    labourqa
    Moderator
    376256

    สวัสดีคุณ อมรรัตน์ กรณีนายจ้างให้ลูกจ้างมาทำงานในวันหยุดตามประเพณี แบ่งเป็น 2 กรณี 1) กรณีลูกจ้างรายวัน หรือลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด จะได้รับค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 2 เท่า 2) กรณีลูกจ้างรายเดือน หรือลูกจ้างที่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด จะได้รับค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 1 เท่า หากท่านไม่ได้รับสิทธิตามที่กฎหมายกำหนด ท่านสามารถยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในพื้นที่/จังหวัดที่ท่านทำงาน หรือยื่นคำร้องออนไลน์ผ่านทางลิ้งค์ : https://eservice.labour.go.th/ หรือกรณีที่ท่านยังทำงานอยู่และเกรงว่าจะกระทบกับหน้าที่งานสามารถติดต่อปรึกษาหรือแจ้งข้อร้องเรียนได้ที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้ที่ช่องทาง 1) สายด่วน 1546 2) สายด่วน 1506 กด 3 หรือ 3) สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/กรุงเทพ ตรวจสอบหมายเลขโทรศัพท์จากเว็ปไซต์กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน http://www.labour.go.th (เมนู ติดต่อกรม) เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ท่านทำงานหรืออาศัยอยู่ให้คำปรึกษาช่วยเหลือ ในวันและเวลาราชการครับ

    labourqa
    Moderator
    376255

    สวัสดีคุณ อมรรัตน์ กรณีนายจ้างให้ลูกจ้างมาทำงานในวันหยุดตามประเพณี แบ่งเป็น 2 กรณี 1) กรณีลูกจ้างรายวัน หรือลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด จะได้รับค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 2 เท่า 2) กรณีลูกจ้างรายเดือน หรือลูกจ้างที่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด จะได้รับค่าทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่า 1 เท่า หากท่านไม่ได้รับสิทธิตามที่กฎหมายกำหนด ท่านสามารถยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในพื้นที่/จังหวัดที่ท่านทำงาน หรือยื่นคำร้องออนไลน์ผ่านทางลิ้งค์ : https://eservice.labour.go.th/ หรือกรณีที่ท่านยังทำงานอยู่และเกรงว่าจะกระทบกับหน้าที่งานสามารถติดต่อปรึกษาหรือแจ้งข้อร้องเรียนได้ที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้ที่ช่องทาง 1) สายด่วน 1546 2) สายด่วน 1506 กด 3 หรือ 3) สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/กรุงเทพ ตรวจสอบหมายเลขโทรศัพท์จากเว็ปไซต์กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน http://www.labour.go.th (เมนู ติดต่อกรม) เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ท่านทำงานหรืออาศัยอยู่ให้คำปรึกษาช่วยเหลือ ในวันและเวลาราชการครับ

    labourqa
    Moderator
    375446

    เรียน อรรถพันธ์ สุวรรณธารณ์ ตามที่ท่านสอบถามมานั้น กรณีนายจ้างประกาศวันหยุดตามประเพณีเป็นการล่วงหน้าแล้ว พอระยะเวลาหนึ่งมาขอเปลี่ยนวันที่เคยประกาศไปแล้วนั้น จะเปลี่ยนวันได้ลูกจ้างทุกคนต้องยินยอมและวันที่เปลี่ยนต้องเป็นวันที่สามารถประกาศได้ คือวันหยุดราชการประจำปี วันหยุดทางศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น เช่น เคยประกาศ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 (วันสิ้นปี) และจะเปลี่ยนเป็นวันที่ 10 ธันวาคม (วันรัฐธรรมนูญ) ลูกจ้างทุกคนยินยอมสามารถทำได้ แต่หากเปลี่ยนเป็นวันอื่นแทนเลย เช่น จากเดิมประกาศวันที่ 23 ตุลาคม 2565 (วันปิยะมหาราช) เปลี่ยนเป็นวันที่ 7 ธันวาคม 2565 แทน นั้น จะกระทำได้สถานประกอบกิจการต้องเป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 4 เท่านั้น
    ถ้าท่านไม่ได้รับความเป็นธรรมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ท่านสามารถร้องเรียนหรือร้องทุกข์ได้ ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด 76 จังหวัด หรือ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-10 หรือร้องผ่านระบบ E-Service ของกรมได้ที่ https://www.labour.go.th/index.php/e-services หากท่านประสงค์สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่…กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ติดต่อได้หลายช่องทาง
    1. สายด่วนโทร 1506 กด 3
    2. สายด่วน 1546
    3. ติดติด สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/ กรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ จากเว็บไซต์ http://www.labour.go.th เมนูติดต่อกรม เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่ท่านทำงาน หรือจังหวัดของท่าน

    labourqa
    Moderator
    375445

    เรียน คุณ PP ตามที่ท่านสอบถามมานั้น เงินโบนัสนั้นไม่ใช่เงินตามกฎหมายว่าด้วยคุ้มครองแรงงานกำหนดให้นายจ้างต้องชำระให้ลูกจ้าง ดังนั้นการชำระเงินโบนัสต้องเป็นไปตามข้อตกลงที่นายจ้างประกาศกำหนดไว้ เช่น ในการชำระเงินค่าโบนัสนั้น เช่น ผู้ที่มีสิทธิได้รับต้องมีสถานะเป็นลูกจ้างระว่างรอบที่มีการกำหนดจ่าย ถ้าเป็นเช่นนี้ ลูกจ้างไม่มีสิทธิได้โบนัสรอบเมษายน ครับ
    ถ้าท่านไม่ได้รับความเป็นธรรมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ท่านสามารถร้องเรียนหรือร้องทุกข์ได้ ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด 76 จังหวัด หรือ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-10 หรือร้องผ่านระบบ E-Service ของกรมได้ที่ https://www.labour.go.th/index.php/e-services หากท่านประสงค์สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่…กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ติดต่อได้หลายช่องทาง
    1. สายด่วนโทร 1506 กด 3
    2. สายด่วน 1546
    3. ติดติด สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/ กรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ จากเว็บไซต์ http://www.labour.go.th เมนูติดต่อกรม เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่ท่านทำงาน หรือจังหวัดของท่าน

    labourqa
    Moderator
    375444

    เรียน คุณณัฐวุฒิ ถ้าท่านหมายถึง พรบ. คุ้มครองแรงงาน ฉบับที่มีการแก้ไข่ล่าสุด เป็นฉบับที่ 7 โดยท่านสามารถโหลดได้ที่ Link นี้ https://bit.ly/3CaV5oL แต่ถ้าท่านหมายถึงแบบฟอร์มที่ใช้ในการย้ายสถานประกอบการนั้นใช้แบบเดิมครับ

    labourqa
    Moderator
    371714

    สำหรับลูกจ้างรายวันให้จ่ายไม่น้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำ หรือไม่น้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทำงานตามจำนวนผลงาน
    ที่ทำได้สำหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

    labourqa
    Moderator
    371713

    ในเบื้องต้นท่านต้องแจ้งนายจ้างโดยดำเนินการมาตรา 120 วรรคสาม กล่าวคือ หากลูกจ้างคนใดเห็นว่าการย้ายสถานประกอบกิจการดังกล่าวมีผลกระทบสำคัญต่อการดำรงชีวิตตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัวของลูกจ้างคนนั้น และไม่ประสงค์จะไปทำงาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่ ต้องแจ้งให้นายจ้างทราบเป็นหนังสือภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ปิดประกาศ หรือนับแต่วันที่ย้ายสถานประกอบกิจการในกรณีที่นายจ้างมิได้ปิดประกาศตามวรรคหนึ่ง และให้ถือว่าสัญญาจ้างสิ้นสุดลงในวันที่นายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการ โดยลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่าอัตราค่าชดเชยที่ลูกจ้างพึงมีสิทธิได้รับตามมาตรา 118 สอบถามเพิ่มเติมได้ที่สายด่วยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โทร 1506 กด 3 หรือ 1546

    in reply to: การหยุดให้พักงาน #370917
    labourqa
    Moderator
    370917

    กรณีลูกจ้างไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ท่านสามารถใช้สิทธิยื่นคำร้องต่อพนักงานตรวจแรงงาน สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานในพื้นที่/จังหวัดที่ท่านทำงาน หรือยื่นคำร้องออนไลน์ผ่านทางลิ้งค์ : https://eservice.labour.go.th

    labourqa
    Moderator
    370890

    เรียน คุณ su
    กรณีนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้างให้ถูกต้องและตามกำหนดเวลาท่านสามารถยื่นคำร้องทุกข์ได้ ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด 76 จังหวัด หรือ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-10 หรือร้องผ่านระบบ E-Service ของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้ที่ https://www.labour.go.th/index.php/e-services หากท่านประสงค์สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่…กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ติดต่อได้หลายช่องทาง
    1. สายด่วนโทร 1506 กด 3
    2. สายด่วน 1546
    3. ติดติด สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/ กรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ จากเว็บไซต์
    http://www.labour.go.th เมนูติดต่อกรม เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่ท่านทำงาน หรือจังหวัดของท่าน

    in reply to: เงินชดเชยเกษียนอายุ #366786
    labourqa
    Moderator
    366786

    เรียน คุณ ธารธารา ถ้าคุณหมายถึงค่าชดเชยตาม ม.118 พรบ.คุ้มครองแรงงาน นั้น ถ้าท่านลาออกเอง ไม่มีสิทธิได้รับค่าชดชยจากการเลิกจ้างครับ และอีกกรณีค่าชดเชยกรณีเกษียณอายุงานนั้น ท่านต้องดูที่ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานว่าบริษัทฯท่านกำหนดเกษียณอายุงานไว้ในข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานไว้หรือไม่ ถ้ากำหนดเกิน 60ปี หรือไม่ได้กำหนด เมื่อท่านอายุครบ 60 ปี ท่านมีสิทธิขอใช้สิทธิเกษียณอายุงานได้และต้องทำงานอีก30วัน และนายจ้างต้องจ่ายค่าชดเชย กรณีเกษียณอายุงาน ตาม ม.118/1 พรบ.คุ้มครองแรงงาน

    ดังนั้นหากท่านไม่ได้รับความเป็นธรรม สามารถร้องเรียนหรือร้องทุกข์ได้ ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด 76 จังหวัด หรือ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-10 หรือร้องผ่านระบบ E-Service ของกรมได้ที่ https://www.labour.go.th/index.php/e-services หากท่านประสงค์สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่…กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ติดต่อได้หลายช่องทาง
    1. สายด่วนโทร 1506 กด 3
    2. สายด่วน 1546
    3. ติดติด สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/ กรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ จากเว็บไซต์
    http://www.labour.go.th เมนูติดต่อกรม เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่ท่านทำงาน หรือจังหวัดของท่าน

    labourqa
    Moderator
    366784

    เรียน คุณ น้ำตาล หารหักค่าจ้างต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดเท่านั้น ตาม ม.76 และ 77 พรบ. คุ้มครองแรงงานเท่านั้น แต่การลาออกโดยไม่บอกกล่าวล่วงหน้า หากนายจ้างเสียหายจากการกระทำดังกล่าวที่ลูกจ้างไม่บอกกล่าวล่วงหน้านั้น นายจ้างมีสิทธิฟ้องเรียกค่าเสียหายได้ที่ศาลแรงงาน แต่เป็นคนละกรณีกับการจ่ายค่าจ้าง

    ดังนั้นหากท่านไม่ได้รับความเป็นธรรม สามารถร้องเรียนหรือร้องทุกข์ได้ ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด 76 จังหวัด หรือ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-10 หรือร้องผ่านระบบ E-Service ของกรมได้ที่ https://www.labour.go.th/index.php/e-services หากท่านประสงค์สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่…กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ติดต่อได้หลายช่องทาง
    1. สายด่วนโทร 1506 กด 3
    2. สายด่วน 1546
    3. ติดติด สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/ กรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ จากเว็บไซต์
    http://www.labour.go.th เมนูติดต่อกรม เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่ท่านทำงาน หรือจังหวัดของท่าน

    labourqa
    Moderator
    366781

    เรียน คุณ Ayunee การทำงานกี่วันก็ตาม ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าจ้างตามวันและเวลาที่มีการทำงานจริง การจ่ายต้องเป็นไปตามที่ตกลงไว้หรือตามที่นายจ้างได้กำหนดรอบการคำนวณและการจ่าย แต่เมื่อถึงรอบการจ่ายค่าจ้างแล้วนายจ้างไม่ชำระ ลูกจ้างมีสิทธิยื่นคำร้องทุกข์ต่อพนักงานตรวจแรงงานได้
    ดังนั้นหากท่านไม่ได้รับความเป็นธรรม สามารถร้องเรียนหรือร้องทุกข์ได้ ณ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด 76 จังหวัด หรือ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-10 หรือร้องผ่านระบบ E-Service ของกรมได้ที่ https://www.labour.go.th/index.php/e-services หากท่านประสงค์สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน ท่านสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่…กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ติดต่อได้หลายช่องทาง
    1. สายด่วนโทร 1506 กด 3
    2. สายด่วน 1546
    3. ติดติด สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด/ กรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ จากเว็บไซต์
    http://www.labour.go.th เมนูติดต่อกรม เพื่อติดต่อเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่ท่านทำงาน หรือจังหวัดของท่าน

    labourqa
    Moderator
    365855

    เรียน คุณ ธนันต์ เรืองอนันต์

    แนะนำท่านติดต่อกรมการจัดหางาน ถนนมิตรไมตรี แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400
    โทร 0 2247 9423, 0 2248 4743 สายด่วน 1506 กด 2 และ 1694
    ศูนย์มิตรไมตรี https://www.doe.go.th

    labourqa
    Moderator
    364893

    เรียนคุณกัญญาภัทร แตงทอง การกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำเป็นไปตามมาตรฐานตามกฎหมายครับ แต่ในกรณีสถานประกอบกิจการใดจ่ายค่าจ้างในอัตราสูงกว่าค่าจ้างขั้นต่ำ หรือกรณีการพิจารณาขึ้นค่าจ้างให้พนักงานนั้นเป็นดุลพินิจของแต่ละสถานประกอบกิจการครับ

กำลังดู 15 ข้อความ - 1 ผ่านทาง 15 (ของทั้งหมด 391)
TOP